Skip to main content

รายงานวิจัย เรื่อง การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวกับสังคมไทย ภายใต้พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560

รัฐไทยยังมีแนวโน้มจะบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติและผู้มีส่วน ได้เสียที่เกี่ยวข้องด้วยการใช้อำนาจรัฐอย่างเข้มงวดผ่านมาตราการทางปกครองและมาตราการทางอาญา ซึ่งเป็นกลไกที่เน้นการควบคุมมากกว่าการสร้างความร่วมมือและความไว้วางใจระหว่างกัน และวิถีแห่งการใช้อำนาจดังกล่าวทำให้ภารกิจหลักของพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของ คนต่างด้าว พ.ศ.

รายงานผลกระทบของการผ่อนปรนมาตรการของ รัฐบาลไทยต่อแรงงานข้ามชาติ และความเสี่ยงด้านแรงงานบังคับ

จากการสำรวจรายงานฉบับนี้พบว่าค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการขอให้คนอื่นช่วยในการขึ้นทะเบียนพบว่า 36% ของแรงงานข้ามชาติต้องพึ่งพานายหน้า และ 7% ต้องพึ่งพาบริษัทจัดหางาน

สถานการณ์การบริหารจัดการและกฎหมาย นโยบาย มกราคม-มีนาคม 2566

มติคณะรัฐมนตีเห็นชอบการขยายระยะเวลาดำเนินการขึ้นทะเบียนถึงวันที่ 13 พฤษภาคม 2566 เพื่อแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติหลุดจากระบบ

สถานการณ์การบริหารจัดการและกฎหมาย นโยบายแรงงานข้ามชาติ ช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2565

แรงงานกว่าสองล้านคนจะต้องดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 และมีความเสี่ยงที่แรงงานหลายแสนคนจะไม่สามารถดำเนินการตามกำหนดและเสี่ยงที่กลายเป็นแรงงานผิดกฎหมาย

สถานการณ์แรงงานข้ามชาติ และผู้ลี้ภัยในประเทศไทย : ข้อเสนอเชิงนโยบาย และการปฏิรูปกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

สถานการณ์แรงงานข้ามชาติ และผู้ลี้ภัยในประเทศไทย : ข้อเสนอเชิงนโยบาย และการปฏิรูปกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

โดย

เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ (MWG)
เครือข่ายสิทธิผู้ลี้ภัยและคนไร้รัฐ (CRSP)
Burma Concern Forum

Subscribe to